วันเสาร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2556

แผนการสอน ม.2 ภาคเรียนที่ 1/56


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                  จำนวน          ชั่วโมง
เรื่อง ประวัตินาฏศิลป์ไทย

1.สาระสำคัญ 
                                นาฏศิลป์ไทยเกิดจากการแสดงของชาวบ้านซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ทรงคูณค่าแฝงไปด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นของแต่ละภาคเกิดจากการเคลื่อนไหวร่างกายแขนขาไปตามจังหวะนาฏศิลป์ไทยแบ่งประเภทการแสดงออกเป็น  ประเภทคือ  รำ  ระบำ  ฟ้อน เซิ้ง    โขน และละคร ซึ่งแต่ละประเภทจะมีความงดงามต่างกันไปตามหลักของการแสดงและประเภทของการแสดง ครูแบ่งกลุ่มให้นักเรียนศึกษาการแสดงแต่ละประเภทแล้วออกมาอภิปราย
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
                                 สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและอธิบายความหมายและประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้ประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยแล้ว นักเรียนสามารถ
                                1. บอกประวัติที่มาของการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้
                                2. บอกประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้
                3. ยกตัวอย่างชุดการแสดงตามประเภทได้
4. เนื้อหาสาระ
                                ประวัติและ ประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากเรื่องในชีวิตจริง
                                         - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                         - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน


2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                                - จำแนกประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำ
ครูถามนักเรียนว่าเคยชมการแสดงนาฏศิลป์หรือไม่และต่างจากการแสดงเต้นทั่วไปตรงไหน
แนวตอบ   การแสดงนาฏศิลป์มีท่าที่อ่อนช้อยสวยงาม      การเต้นมีจังหวะสนุกสนานเต้นตามใจ
                5.2 ขั้นสอน
ครูอธิบายประวัตินาฏศิลป์ไทยและประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ไทยให้นักเรียนฟังทั้ง  6  ประเภทพร้อมกับยกตัวอย่างการแสดงของแต่ละประเภทให้เพื่อความเข้าใจโดยเริ่มจากประเภท  รำ   ระบำ   ฟ้อน   เซิ้ง  โขน  และละคร ซึ่งแต่ละประเภทยังแบ่งประเภทย่อยๆ อีกตามประเภทของตนเอง โดยให้นักเรียนจดเพิ่มเติมลงในสมุด พร้อมตัวอย่างประกอบคำอธิบายเพื่อนักเรียนจะได้เข้าใจมากยิ่งขึ้นจากนั้นครูให้นักเรียนจับกลุ่มทำรายงานประเภทของการแสดงมากลุ่มละ  1 เรื่อง เพื่อมารายงานหน้าชั้นเรียนจะได้ทราบข้อมูลมากยิ่งขึ้นในแต่ละประเภท

                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูให้นักเรียนบอกประวัติของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
2.       ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
3.       นักเรียนทำรายงานมาส่งเป็นกลุ่ม

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. ประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
2. สมุด
3.  รายงาน
                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                1. อินเทอร์เน็ต
                2. หนังสือเรียนดนตรี - นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่  2

7. การวัดผลประเมินผล
                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                2. การศึกษาด้วยตนเอง



แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                 จำนวน          ชั่วโมง
เรื่อง นาฏยศัพท์

1.สาระสำคัญ 
นาฏยศัพท์คือศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อของท่ารำที่ในวงการนาฏศิลป์เพื่อกำหนดชื่อท่ารำให้มีความเข้าใจที่ตรงกันนาฏยศัพท์แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือนาฏยศัพท์ส่วนมือ  และนาฏยศัพท์ส่วนเท้า   ซึ่งเป็นท่ารำพื้นฐานของการรำทุกเพลงเช่น   ท่าตั้งวง   ท่าจีบ  ท่าล่อแก้ว  ท่าซอยเท้า ท่าประเท้า  ท่ากระดกเท้า  ท่ากระทุ้งเท้าซึ่งท่าเหล่านี้มีอยู่ในการแสดง      ทุกเพลง

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
                                 สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและอธิบายความหมายของนาฏยศัพท์

3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้ควมหมายของนาฏยศัพท์แล้ว นักเรียนสามารถ
                                1. บอกความหมายของนาฏยศัพท์ได้
                                2. บอกชื่อท่านาฏยศัพท์ส่วนมือได้
                3.  บอกชื่อท่านาฏยศัพท์ส่วนเท้าได้
                4.  นำท่านาฏยศัพท์มือประดิษฐ์ท่าระประกอบเพลงได้
4. เนื้อหาสาระ
                                ความหมายของนาฏยศัพท์ส่วนเท้า
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทของนาฏยศัพท์
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากท่าทางในชีวิตจริง
                                         - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                          - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทของนาฏยศัพท์
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทนาฏยศัพท์
                                                - จำแนกประเภทนาฏยศัพท์

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

                5.1 ขั้นนำ
ครูทำท่ารำให้นักเรียนดูและถามนักเรียนเคยว่ารู้จักท่ารำนี้หรือไม่มีชื่อว่าท่าใด
แนวตอบ   ประเท้า   ยกเท้า

5.2 ขั้นสอน
ครูอธิบายความหมายของนาฏยศัพท์ให้นักเรียนฟังอีกครั้งพร้อมกับคำถามและให้นักเรียนช่วยกันบอกชื่อของท่ารำส่วนมือที่เรียนไปแล้วจากนั้นครูอธิบายและสาธิตท่ารำส่วนเท้า ให้นักเรียนรู้จักส่วนของเท้าทั้ง 3ส่วนคือนิ้วเท้า  จมูกเท้า และส้นเท้าที่จำเป็นสำหรับการทำนาฏยศัพท์ส่วนเท้าให้นักเรียนดู จากนั้นให้ดูใบความรู้ประกอบว่ามีท่าใดบ้างแล้วให้นักเรียนปฏิบัติตามครูทีละท่าของส่วนเท้า จนชำนาญพร้อมครูคือ  ท่าประเท้า   ยกเท้า   ก้าวเท้า  เปิดส้นเท้า  กระทุ้งเท้า    กระดกเท้า    จรดเท้า   ซอยเท้า  และครูคอยแนะนำท่าที่ถูกต้องให้กับนักเรียนโดยเฉพาะระดับ ของเท้าที่ยก  ตำแหน่งของการก้าวเท้าการย่อ  การทรงตัวเวลากระดกเพื่อให้ได้ท่ารำที่ถูกต้องสวยงาม
                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูซุ่มเรียกถามความหมายของนาฏยศัพท์ว่าคืออะไร
2.       ครูให้นักเรียนปฏิบัติท่ารำส่วนเท้าตามคำสั่ง
3.       นักเรียนทำใบงานสรุปความรู้เรื่องนายศัพท์ส่วนเท้า





6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. สมุด
3. ท่ารำส่วนเท้า
                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                1. อินเทอร์เน็ต
                2. หนังสือเรียนดนตรี - นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่  2

7. การวัดผลประเมินผล
                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                2. การศึกษาด้วยตนเอง





แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                 จำนวน          ชั่งโมง
เรื่อง นาฏยศัพท์

1.สาระสำคัญ 
นาฏยศัพท์คือศัพท์ที่ช้เรียกช่อของท่ารำที่ในวงการนาฏยศิลป์เพื่อกำหนดชื่อท่ารำให้มีความเข้าใจที่ตรงกัน   นาฏยศัพท์แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือนาฏยศัพท์ส่วนมือ  และนาฏยศัพท์ส่วนเท้า   ซึ่งเป็นท่ารำพื้นฐานของการรำทุกเพลงเช่น   ท่าตั้งวง   ท่าจีบ  ท่าล่อแก้ว  ท่าซอยเท้า ท่าประเท้า  ท่ากระดกเท้า  ท่ากระทุ้งเท้าซึ่งท่าเหล่านี้มีอยู่ในการแสดง ทุกเพลง จากนั้นให้นักเรียนแบ่งกลุ่มอภิปราย

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
                                 สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและอธิบายความหมายของนาฏยศัพท์

3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้ควมหมายของนาฏยศัพท์แล้ว นักเรียนสามารถ
                                1. บอกความหมายของนาฏยศัพท์ได้
                                2. บอกชื่อท่านาฏยศัพท์ส่วนมือได้
                3.  บอกชื่อท่านาฏยศัพท์ส่วนเท้าได้
                4.  นำท่านาฏยศัพท์มือประดิษฐ์ท่าระประกอบเพลงได้

4. เนื้อหาสาระ
                                ความหมายของนาฏยศัพท์ส่วนมือ
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทนาฏยศัพท์ส่วนมือ
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากท่าทางในชีวิตจริง
                                          - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                                - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทนาฏยศัพท์ส่วนมือ
                                                - จำแนกประเภทนาฏยศัพท์ส่วนมือ

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

                5.1 ขั้นนำ
ครูทำท่ารำให้นักเรียนดูและถามนักเรียนเคยว่ารู้จักท่ารำนี้หรือไม่มีชื่อว่าท่าใด
แนวตอบ   ท่าตั้งวง   ท่าจีบ

5.2 ขั้นสอน
ครูอธิบายความหมายของนาฏยศัพท์ให้นักเรียนฟังอีกครั้งพร้อมกับคำถามและให้นักเรียนช่วยกันบอกชื่อของท่ารำ นาฏยศัพท์ที่รู้จักแล้วจากนั้นครูอธิบายและสาธิตท่ารำส่วนมือ แล้วให้นักเรียนดูจากใบความรู้ว่ามีท่าใดบ้างจากนั้นให้นักเรียนปฏิบัติตามครูทีละท่าของส่วนมือ จนชำนาญครูให้นักเรียนปฏิบัติท่ารำพร้อมกันทีละท่าคือ  ท่าตั้งวงบน   วงกลาง  วงล่าง   จีบคว่ำ   จีบหงาย   จีบปรกหน้า   จีบปรกข้าง  จีบส่งหลัง  และท่าล่อแก้วให้ปฏิบัติตามทีละท่าโดยครูคอยให้คำแนะนำท่ที่ถกต้องระดับมือที่ถูกต้องสวยงาม
                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูซุ่มเรียกถามความหมายของนาฏยศัพท์ว่าคืออะไร
2.       ครูให้นักเรียนปฏิบัติท่ารำส่วนมือตามคำสั่ง

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. สมุด
3.  นาฏยศัพท์ส่วนมือ
                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                1. อินเทอร์เน็ต
                2. หนังสือเรียนดนตรี - นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่  2

7. การวัดผลประเมินผล
                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                2. การศึกษาด้วยตนเอง



แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                 จำนวน          ชั่วโมง
เรื่อง.ประเภทรำและระบำ

1.สาระสำคัญ 
นาฏศิลป์ไทยเกิดจากการแสดงของชาวบ้านซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ทรงคูณค่าแฝงไปด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นของแต่ละภาคจะมีความงดงามต่างกันไปตามหลักของการแสดงและประเภทแต่ละท้องถิ่นโดยเฉพาะประเภทรำคือการแสดงที่เน้นความอ่อนช้อยร่ายรำไปตามจังหวะซึ่งแบ่งออกได้  2 ประเภทคือรำเดี่ยวคือมีผู้แสดงคนเดียวและรำคู่มีผู้แสดงตั้งแต่  2  คนขึ้นไปส่วนประเภทระบำได้แบ่งออกเป็น  2  ประเภทคือระบำมาตรฐานและระบำเบ็ดเตล็ดซึ่งมีการแสดงอยู่ทั่วไป โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่มช่วยกันศึกษาการแสดงทั้ง 2 ประเภท

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
                                 สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและอธิบายความหมายและประเภทรำและระบำ

3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้ประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยแล้ว นักเรียนสามารถ
1.บอกประเภทของการแสดงรำได้
2. บอกประเภทของการแสดงระบำได้
                                3. บอกชื่อชุดการแสดงรำได้
                4. ยกตัวอย่างชุดการแสดงระบำได้
4. เนื้อหาสาระ
                                ประเภทรำและระบำ
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทรำและระบำ
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากเรื่องในชีวิตจริง
                                         - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                                - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทรำและระบำ
                                                - จำแนกประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทรำและระบำ

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

                5.1 ขั้นนำ
ครูให้นักเรียนบอกประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ไทยทั้ง  6  ประเภทมีอะไรบ้าง
แนวตอบ    รำ     ระบำ   ฟ้อน

5.2 ขั้นสอน
ครูอธิบายประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ไทยเพื่อทบทวนอีกครั้งจากนั้นครูอธิบายประเภทรำทั้ง   2 ประเภททั้งรำเดี่ยว รำคู่พร้อมกับยกตัวอย่างให้  และอธิบายประเภทของระบำซึ่งมี  2  ประเภท  คือระบำมาตรฐาน  และระบำเบ็ดเตล็ตพร้อมกับยกตัวอย่างและให้นักเรียนจดใส่สมุดเพิ่มเติมเองตามความเข้าใจ  จากนั้นครูยกตัวอย่างภาพการแสดงทั้ง  2  ประเภท   ทั้งรำเดี่ยว   รำคู่  ระบำมาตรฐาน และระบำเบ็ดเตล็ตพร้อมรูปแบบของการแสดงแต่ละชุด
                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูให้นักเรียนบอกประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ไทยทั้ง  6 ประเภท
2.       ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างประเภทของการรำและระบำ
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. ประเภทนาฏศิลป์ไทย
2. สมุด
3.  ประเภทรำและระบำ
                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                1. อินเทอร์เน็ต
                2. หนังสือเรียนดนตรี - นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่  2

7. การวัดผลประเมินผล
                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                2. การศึกษาด้วยตนเอง


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                                         จำนวน          ชั่วโมง
เรื่อง รำวงมาตรฐาน

1.สาระสำคัญ 
รำวงมาตรฐานเดิมคือการแสดงรำโทนเป็นการแสดงของชาวบ้านในแถบภาคกลางซึ่งมีมานานในสมัยสงครามโลกครั้งที่  2  ต่อมากรมศิลปากรได้ปรับปรุงรำโทนขึ้นใหม่ในปี  พ.. 2487  โดยนำท่ารำมาจากการรำแม่บทแต่งทำนองเนื้อเพลงใหม่เปลี่ยนชื่อมาเป็นรำวงมาตรฐานจนถึงปัจจุบันมีทั้งหมด  10  เพลงซึ่งแต่ละเพลงจะมีท่ารำเฉพาะของแต่ละเพลง ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันกับเพื่อนแล้วช่วยกันอภิปราย

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
                                 สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและอธิบายประวัติเพลงรำวงมาตรฐาน

3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้ประวัติเพลงรำวงมาตรฐานแล้ว นักเรียนสามารถ
                                1. บอกประวัติเพลงรำวงมาตรฐานได้
                                2. บอกที่มาของท่ารำของรำวงมาตรฐานได้
                3.  บอกชื่อท่ารำของเพลงรำวงได้

4. เนื้อหาสาระ
                                รำวงมาตรฐาน
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากการละเล่นของชาวบ้าน
                                         - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                          - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน
                                                - จำแนกประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

                5.1 ขั้นนำ
ครูให้นักเรียนบอกประเภทของการแสดงของชาวบ้านที่นักเรียนรู้จักโดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนบอก
5.2 ขั้นสอน
ครูอธิบายประวัติเพลงรำวงมาตรฐานให้นักเรียนฟังตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน  จากนั้นครูบอกให้นักเรียนจดประวัติใส่สมุดว่ามีการพัฒนามาจากการแสดงรำโทน  เกิดขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่  2  ในสมัยจอมพล  ป.  พิบูลย์สงคราม  เป็นนายกรัฐมนตรีจอมพล  ป.  พิบูลย์สงคราม  ให้กรมศิลปากร ปรับปรุงรำโทนขึ้นใหม่   ปรับปรุงเสร็จใน  พ.. 2487 และเปลี่ยนชื่อให้ใหม่ว่า รำวงมาตรฐานซึ่งมีทั้งหมด  10  เพลง  แต่ละเพลงจะมีท่ารำเฉพาะของแต่ละเพลง  และยังมีการรำชุดนี้ในปัจจุบันถือเป็นการแสดงพื้นบ้านที่ยังคงอยู่จนถึงปัจจุบันให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันกับเพื่อนแล้วช่วยกันอภิปราย
                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูให้นักเรียนบอกที่มาของการแสดงรำวง
2.       ครูให้นักเรียนบอกชื่อเพลงรำวงมาตรฐานทั้ง  10  เพลง
3.       นักเรียนตอบคำถามจากประวัติรำวง
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. ท่ารำเพลงรำวง
2. สมุด
3.  ประวัติรำวงมาตรฐาน
                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                1. อินเทอร์เน็ต
                2. หนังสือเรียนดนตรี - นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่  2

7. การวัดผลประเมินผล
                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                2. การศึกษาด้วยตนเอง



แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                    จำนวน          ชั่วโมง
เรื่อง รำวงมาตรฐาน

1.สาระสำคัญ 
รำวงมาตรฐานเดิมคือการแสดงรำโทนเป็นการแสดงของชาวบ้านในแถบภาคกลางซึ่งมีมานานในสมัยสงครามโลกครั้งที่  2  ต่อมากรมศิลปากรได้ปรับปรุงรำโทนขึ้นใหม่ในปี  พ.. 2487  โดยนำท่ารำมาจากการรำแม่บทแต่งทำนองเนื้อเพลงใหม่เปลี่ยนชื่อมาเป็นรำวงมาตรฐานจนถึงปัจจุบันมีทั้งหมด  10  เพลงซึ่งแต่ละเพลงจะมีท่ารำเฉพาะของแต่ละเพลง

 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง                             
สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและอธิบายประวัติเพลงรำวงมาตรฐาน

3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้ประวัติเพลงรำวงมาตรฐานแล้ว นักเรียนสามารถ
                                1. บอกประวัติเพลงรำวงมาตรฐานได้
                                2. บอกที่มาของท่ารำของรำวงมาตรฐานได้
                3.  บอกชื่อท่ารำของเพลงรำวงได้
                               
4. เนื้อหาสาระ
                                รำวงมาตรฐาน
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากเรื่องในชีวิตจริง
                                                - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                                - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน

2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน
                                                - จำแนกประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

                5.1 ขั้นนำ
ครูให้นักเรียนบอกประเภทของการแสดงของชาวบ้านที่นักเรียนรู้จักโดยครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่นักเรียนบอก

5.2 ขั้นสอน
ครูทบทวนประวัติเพลงรำวงมาตรฐานให้นักเรียนฟังตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน  ว่ามีการพัฒนามาจากการแสดงรำโทน   แต่ละเพลงจะมีท่ารำเฉพาะของแต่ละเพลงจากนั้นครูให้นักเรียนจดเนื้อเพลงใส่ในสมุดจากนั้นครูสาธิตการร้องเพลงให้นักเรียนร้องเพลงตามครูทีละท่อนและจับกลุ่มซ้อมร้องเพลงจนกว่าจะร้องได้และครูให้รักเรียนช่วยกันบอกชื่อท่ารำของเพลง จากนั้นครูสาธิตท่ารำให้นักเรียนดูและปฏิบัติตามครูทีละท่าทีละเพลง จนกว่าจะชำนาญโดยให้ร้องและรำเองก่อนจะเปิดเพลงเพื่อให้คล่องเพราะเพลงจะเร็วกว่าเวลาร้องและครูรำพร้อมกับเด็กไปด้วยเพื่อเป็นแนว

                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูให้นักเรียนปฏิบัติการรำประกอบเพลง ทั้ง 4 เพลง
2.       ครูให้นักเรียนบอกชื่อท่ารำเพลงทั้ง 4 เพลง
3.       นักเรียนร้องเพลงทั้ง 4 เพลงพร้อมกัน


6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. ประวัติรำวง
2. ท่ารำสอดสร้อยมาลา, ท่าชักแป้งผัดหน้า , ท่ารำส่าย , ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง
3.  เพลงรำวงมาตรฐาน
                                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                                1. อินเทอร์เน็ต
                                2. หนังสือเรียนดนตรี -นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่  2

7. การวัดผลประเมินผล
                                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                                2. การศึกษาด้วยตนเอง




แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                   จำนวน          ชั่วโมง
เรื่อง รำวงมาตรฐาน

1.สาระสำคัญ 
รำวงมาตรฐานเดิมคือการแสดงรำโทนเป็นการแสดงของชาวบ้านในแถบภาคกลางซึ่งมีมานานในสมัยสงครามโลกครั้งที่  2  ต่อมากรมศิลปากรได้ปรับปรุงรำโทนขึ้นใหม่ในปี  พ.. 2487  โดยนำท่ารำมาจากการรำแม่บทแต่งทำนองเนื้อเพลงใหม่เปลี่ยนชื่อมาเป็นรำวงมาตรฐานจนถึงปัจจุบันมีทั้งหมด  10  เพลงซึ่งแต่ละเพลงจะมีท่ารำเฉพาะของแต่ละเพลง

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
                                 สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและปฏิบัตเพลงรำวงมาตรฐาน

3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้เพลงรำวงมาตรฐาน นักเรียนสามารถ
                                1. บอกประวัติเพลงรำวงมาตรฐานได้
                                2. บอกชื่อท่ารำเพลงงามแสงเดือน  เพลงชาวไทย  เพลงรำมาซิมารำ  ได้
                                3.  ปฏิบัติท่ารำประกอบเพลงทั้ง  3  เพลงได้
                               
4. เนื้อหาสาระ
                                สอบปฏิบัติรำเพลงรำวง
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากเรื่องในชีวิตจริง
                                         - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                         - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน

2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน
                                                - จำแนกประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยรำวงมาตรฐาน

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

                5.1 ขั้นนำ
ครูให้นักเรียนร้องเพลงรำวงมาตรฐานเพื่อทบทวนบทเรียนก่อนที่ครูจะถามประวัติเพลงรำวงมาตรฐานตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน
แนวตอบ   สงครามโลกครั้งที 2    กรมศิลปากร

5.2 ขั้นสอน
ครูให้นักเรียนร้องเพลงพร้อมกันจากนั้นครูให้นักเรียนยืนจับคู่เป็นวงกลมเพื่อรำเป็นชายหญิงประกอบเพลงเป็นการฝึกซ้อมก่อนที่จะสอบปฏิบัติเพื่อเก็บคะแนนโดยให้ซ้อม  10  นาที  ก่อนจากนั้นครูเรียกออกมาทีละ  6 คน  เพื่อทำการสอบโดยให้นักเรียนเดินรำเป็นวงกลมจนกว่าจะหมดเวลาและสอบหมดทุกคน   
                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูให้นักเรียนบอกประวัติเพลงรำวงมาตรฐาน
2.       ครูให้นักเรียนปฏิบัติท่ารำประกอบเพลงรำวงมาตรฐาน
3.       นักเรียนจับคู่รำประกอบเพลงรำวงมาตรฐาน

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. เพลงรำวงมาตรฐาน
2. ท่ารำวงมาตรฐาน

                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                1. อินเทอร์เน็ต
                2. หนังสือเรียนดนตรี -นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่ 2

7. การวัดผลประเมินผล
                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                2. การศึกษาด้วยตนเอง




แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้    ศิลปะ           รายวิชา    นาฏศิลป์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2556                                                   จำนวน          ชั่วโมง
เรื่อง รำวงมาตรฐาน

1.สาระสำคัญ 
รำวงมาตรฐานเดิมคือการแสดงรำโทนเป็นการแสดงของชาวบ้านในแถบภาคกลางซึ่งมีมานานในสมัยสงครามโลกครั้งที่  2  ต่อมากรมศิลปากรได้ปรับปรุงรำโทนขึ้นใหม่ในปี  พ.. 2487  โดยนำท่ารำมาจากการรำแม่บทแต่งทำนองเนื้อเพลงใหม่เปลี่ยนชื่อมาเป็นรำวงมาตรฐานจนถึงปัจจุบันมีทั้งหมด  10  เพลงซึ่งแต่ละเพลงจะมีท่ารำเฉพาะของแต่ละเพลง

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
                                 สืบค้นข้อมูล  อภิปรายและปฏิบัตเพลงรำวงมาตรฐาน

3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                เมื่อนักเรียน เรียนรู้เพลงรำวงมาตรฐาน นักเรียนสามารถ
                                1. บอกประวัติเพลงรำวงมาตรฐานได้
                                2. บอกชื่อท่ารำเพลงงามแสงเดือน  เพลงชาวไทย  เพลงรำมาซิมารำ  ได้
                3.  ปฏิบัติท่ารำประกอบเพลงทั้ง  3  เพลงได้
                               
4. เนื้อหาสาระ
                                สอบปฏิบัติรำเพลงรำวง
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอเพียง
                                1.1  ความพอประมาณ
- ใช้เวลาในการศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยแล้วนำมาสอบปฏิบัติรำเพลงรำวง
                                1.2  ความมีเหตุผล
- ยอมรับเนื้อหาที่ศึกษาว่ามาจากเรื่องในชีวิตจริงและถ่ายทอดความรู้ได้
                                         - ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

                                1.3 การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                         - นำความรู้ที่ศึกษาที่ดีไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2. คุณธรรมกำกับความรู้
                                2.1 เงื่อนไขคุณธรรม
                                                - ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม / ความสามัคคีภายในกลุ่ม
                                      - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
      - มุ่งมั่นในการทำงาน
      - ชื่นชมเห็นคุณค่าของประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทย
                                2.2. เงื่อนไขความรู้
                                                - ศึกษาประเภทการแสดงนาฏศิลป์ไทยและปฏิบัติได้
                                                - จำแนกท่ารำเพลงรำวงมาตรฐษนและปฏิบัติได้

5. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

                5.1 ขั้นนำ
ครูให้นักเรียนร้องเพลงรำวงมาตรฐานเพื่อทบทวนบทเรียนก่อนที่ครูจะถามประวัติเพลงรำวงมาตรฐานตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน
แนวตอบ   สงครามโลกครั้งที 2    กรมศิลปากร

5.2 ขั้นสอน
ครูให้นักเรียนร้องเพลงพร้อมกันจากนั้นครูให้นักเรียนยืนจับคู่เป็นวงกลมเพื่อรำเป็นชายหญิงประกอบเพลงเป็นการฝึกซ้อมก่อนที่จะสอบปฏิบัติเพื่อเก็บคะแนนโดยให้ซ้อม  10  นาที  ก่อนจากนั้นครูเรียกออกมาทีละ  คน  โดยจับเป็นคู่ เป็นชายหญิง เพื่อทำการสอบโดยให้นักเรียนเดินรำเป็นวงกลมจนกว่าจะหมดเวลาและสอบหมดทุกคน  
                5.3 ขั้นสรุป
1.       ครูให้นักเรียนบอกประวัติเพลงรำวงมาตรฐาน
2.       ครูให้นักเรียนปฏิบัติท่ารำประกอบเพลงรำวงมาตรฐาน
3.       นักเรียนจับคู่รำประกอบเพลงรำวงมาตรฐาน




6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
                6.1 สื่อการเรียนรู้
1. เพลงรำวงมาตรฐาน
2. ท่ารำวงมาตรฐาน
                6.2 แหล่งการเรียนรู้
                1. อินเทอร์เน็ต
                2. หนังสือเรียนดนตรี -นาฏศิลป์  มัธยมศึกษาปีที่ 2

7. การวัดผลประเมินผล
                7.1 การสังเกตจากแบบบันทึกการสังเกต
                7.2 จากการตอบคำถาม

8. วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้
                1. การสอนโดยใช้การอภิปราย
                2. การศึกษาด้วยตนเอง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น